ศักดิ์ชัย กาย
ของ ศักดิ์ชัย
มี 177 คนชอบรูปนี้
-
มาเยี่ยม ครูลิ้มซอดำ ที่อัมพวา.....บทสนทนาที่เต็มไปด้วยข้อมูลอันมีค่าและสวยงาม ครูนำซอที่เก็บไว้ออกมาอวด ท่านมีสุขภาพแข็งแรงขึ้น ความจำเยี่ยม และมีความสุขที่มีคนมาชวนคุยด้วย; -
เทวดา (บาลี: devatā) หรือ เทพ (บาลี: deva) ตามคติความเชื่อทางศาสนาต่างๆ หมายถึง ผู้ที่มีชีวิตเป็นทิพย์ ไม่ได้มีชีวิตเป็นกายเนื้ออยู่บนโลกนี้ บ้างก็ว่ามีกายเป็นแสงสว่าง และเสวยสุขในสรวงสวรรค์ชั้นต่างๆ ซึ่งถือว่าเป็นภพภูมิที่ดี เทวดาผู้หญิงเรียกว่า นางฟ้า หรือ เทพี เทวดาผู้มีมิจฉาทิฐิ เรียกว่า มาร; -
เทวดา (บาลี: devatā) หรือ เทพ (บาลี: deva) ตามคติความเชื่อทางศาสนาต่างๆ หมายถึง ผู้ที่มีชีวิตเป็นทิพย์ ไม่ได้มีชีวิตเป็นกายเนื้ออยู่บนโลกนี้ บ้างก็ว่ามีกายเป็นแสงสว่าง และเสวยสุขในสรวงสวรรค์ชั้นต่างๆ ซึ่งถือว่าเป็นภพภูมิที่ดี เทวดาผู้หญิงเรียกว่า นางฟ้า หรือ เทพี เทวดาผู้มีมิจฉาทิฐิ เรียกว่า มาร; -
เทวดา (บาลี: devatā) หรือ เทพ (บาลี: deva) ตามคติความเชื่อทางศาสนาต่างๆ หมายถึง ผู้ที่มีชีวิตเป็นทิพย์ ไม่ได้มีชีวิตเป็นกายเนื้ออยู่บนโลกนี้ บ้างก็ว่ามีกายเป็นแสงสว่าง และเสวยสุขในสรวงสวรรค์ชั้นต่างๆ ซึ่งถือว่าเป็นภพภูมิที่ดี เทวดาผู้หญิงเรียกว่า นางฟ้า หรือ เทพี เทวดาผู้มีมิจฉาทิฐิ เรียกว่า มาร; -
เทพพนม;
-
พระพรหม ( Brahma ) เป็นเทพเจ้าสูงสุด (ตรีมูรติ) ในคติของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นเทพเจ้าแห่งการสร้างสรรค์ เป็นเทพเจ้าแห่งความเมตตา เป็นผู้สร้างโลกและให้กำเนิดสิ่งต่าง ๆ ในจักรวาล และให้กำเนิดคัมภีร์พระเวท. พระพรหมมีสี่พักตร์ พระศอสวมลูกประคำ พระหัตถ์แต่ละข้างถือดอกบัว, คัมภีร์ และหม้อน้ำ มีพาหนะเป็นหงส์ หรือ ห่าน พระชายา คือ พระสุรัสวดี เทพีแห่งศิลปะวิทยาการและความรอบรู้ ในคัมภีร์มัตสยาปุราณะเล่าว่า พระพรหมเดิมทีมีถึงห้าพักตร์ การที่มีห้าพักตร์เกิดจาก การที่พระพรหมให้ได้กำเนิดผู้หญิงนางหนึ่งชื่อ ศตรูป ขึ้นมา ความงามของศตรูปทำให้พระองค์หลงใหล เมื่อศตรูปนี้เคลื่อนไปทางใด พระพรหมก็จะหันพระพักตร์เพื่อมองตามไปด้วย แต่ว่ามีครั้งหนึ่งที่พระพรหมไปดูแคลนพระศิวะเข้า ทำให้พระศิวะพิโรธ และใช้ไฟบรรลัยกัลป์จากพระเนตรที่สามที่กลางพระนลาฏเผาพระพักตร์ที่อยู่ด้านบนเศียรของพระพรหม จนเหลือเพียงสี่พักตร์ แต่อีกความเชื่อหนึ่งเล่าว่า เพราะพักตร์ด้านบนของพระพรหมนั้นเจิดจรัสมาก ทำให้พวกสุระและอสุระทนไม่ได้ จึงขอร้องให้พระศิวะเป็นผู้ตัดให้ และยังเชื่อด้วยว่าพระพรหมเป็นผู้สร้างบุคคลในวรรณะต่าง ๆ จากอวัยวะแต่ละส่วน ได้แก่ วรรณะพราหมณ์ เกิดจากพระโอษฐ์, วรรณะกษัตริย์ เกิดจากอก, วรรณะแพศย์ เกิดจากส่วนท้อง และวรรณะศูทร เกิดจากเท้า ในคติของชาวไทยที่รับคติความเชื่อจากศาสนาพรหมณ์-ฮินดู เชื่อว่าพระพรหมเป็นผู้ลิขิต ชะตาชีวิตของบุคคลต่าง ๆ ตั้งแต่เกิดจนตาย เรียกว่า "พรหมลิขิต" และผู้ใดที่บูชาพระพรหมอยู่เป็นนิจ พระองค์จะประทานพรให้สมหวัง เรียกว่า "พรพรหม" หรือ "พรหมพร" และยังเป็นเทพประจำทิศเบื้องบนอีกด้วย ด้วยเหตุดังนี้ พระพรหมจึงมีพระนามต่าง ๆ อาทิ "พรหมธาดา" หรือ "ประชาบดี" (ผู้สร้าง), "หงสรถ" หรือ "หงสวาหน" (ผู้มีหงส์เป็นพาหนะ), "จตุรพักตร์" (ผู้มีสี่หน้า), "ปรเมษฐ์" (ผู้ประเสริฐ) เป็นต้น โดยความหมายของคำว่า "พรหม" หมายถึง "ความเจริญ, ความกว้างขวาง, ความขยายตัว หรือความเบิกบาน" ดังนั้นตามคติและวัตรปฏิบัติต่าง ๆ ทั้งในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพุทธศาสนาจึงมีคำว่า พรหม ประกอบคำศัพท์ เช่น "พรหมจรรย์", "พรหมบุตร" หรือ "พรหมวิหาร" เป็นต้น; -
กินรี; -
เทพพนม; -
ปางเสด็จลงจากดาวดึงส์ ศิลปะสมัยทวาราวดี; -
พระพุทธรูปนาคปรก ศิลปะสมัยทวาราวดี พุทธศตวรรษที่ 12 - 13;
-
ศรีวิชัย พุทธศตวรรษ 13 - 14; -
เศียรเทวดาพระโพธิสัตว์ ศิลปะศรีวิชัย พุทธศตวรรษที่ 12 ถึง 13 ได้จากดงศรีมหาโพธิ์ จังหวัดปราจีนบุรี; -
พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรองค์ที่พบที่พระบรมธาตุไชยา ได้ชื่อว่าเป็นประติมากรรมที่งดงามที่สุดในศิลปะสมัยศรีวิชัย มีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๔ แม้จะชำรุดและเหลือเพียงครึ่งองค์ แต่ก็ยังคงมีร่องรอยความงดงามปรากฏอยู่ในท่าเอียงสะโพก หรือตริภังค์ นุ่งห่มลำตัวท่อนบนด้วยหนังกวาง มีรูปช้างและกวางอยู่ที่พระอังสาซ้าย มีลักษณะแบบเดียวกับยุวราช ตกแต่งด้วยเครื่องประดับอย่างงดงามคล้ายกับศิลปะในราชวงศ์ไศเลนทร์ของชวาภาคกลางในประเทศอินโดนีเซีย พระพักตร์แสดงให้เห็นถึงความรู้สึกที่อ่อนโยน สมดังพระนาม “พระผู้เป็นเจ้าผู้คอยดูแลคุ้มครองมวลสรรพชีวิตด้วยพระเมตตาจากเบื้องบน”; -
ศิลปะศรีวิชัย พ.ศ.1726; -
พระโพธิสัตว์ศรีอาริยเมตไตรย;
Instagram is a registered trademark of Instagram, inc.