ลฎาภา รัชตะอมรโชติ
ลฎาภา รัชตะอมรโชติ (เชอรี่ สามโคก)Cherry actress: model: Emcee : presenter: writer| thailand ️for work only line : cherryladapa
ของ เชอรี่ สามโคก
มี 252 คนชอบรูปนี้
-
เป็นคอนเสริ์ตที่สนุกมากๆค่าา #thepalace; -
ชุดมาดูคอนเสริร์ต the palace สนุกมากกก; -
ทำมะชาด? ทำมาชัวร์ค่ะ!!! และทำกับคลินิกและคุณหมอที่ชัวร์สุดๆ | หน้าเจ๊เชอแค่โบท้อก ฟิลเลอร์ และร้อยไหม | จมูกพี่ไม่ได้ศัลหมอปั้นให้ | นี่แค่สามวัน ครบ7วันพี่เชอจะลงรูปให้ดูเปรียบเทียบทุกวันค่ะ ขอบคุณหมอเนต @doctor_net_ มากๆนะคะ เสกความงามบนใบหน้าใช้เชอ ใครสนใจสอบถามปรึกษา ดูรีวิวได้ที่ @surgery_guru @absolutebeautyclinicthonglor @doctor_cc #ความสวยทำไมต้องรอ #ถ้าชั้นสวยจะรวยให้ดู #fanpage:absolutebeautyclinic #fanpage:surgery_guru #ร้อยไหม #facelift #surgery #เชอรี่สามโคก #botox #filler #โบท้อก #ฟิลเลอร์; -
คอนเสิร์ตวัยรุ่น ... ไหน? the palace & friend @amp_pattanan; -
😛😛😛;
-
ฉันมาทำอารัยที่นี่ ดูแพงไปนะ ฉัน? ค่าอาหารน่ะ ..... ; -
เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย ร่างกายก็ป่วย แต่ถ้าคนของใจเปลี่ยนแปลงไป จิตใจก็ป่วยนะ #เชอรี่สามโคก #cherry3kok; -
ขับรถ1ชม.ครึ่ง เพื่อมาทำงาน 15 นาที และไม่รุ้ว่ากี่ชม.จะถึงบ้าน #แวะอ้วกแพ้บบ |; -
หูอื้อ คอแสบ จมูกคัด ปวดหัวตึ้บๆ หวัดหนาวมาทักทายเจ๊แระ ยุ่ยไปงาน ; -
รื้อของแล้วเจอสมุดเรียนสมัยมหาวิทยาลัย เชอเลือกเอกประวัติศาสตร์ หลายคนเข้าใจว่าการเรียนประวัติศาสตร์เป็นการท่องจำ แต่สิ่งที่เชอได้เรียนรู้จากการเลือกเอกประวัติศาสตร์ คือ การได้เรียนรู้วิธีการทางประวัติศาสตร์ จริงอยู่ว่าเราต้องอ่านข้อมูลเยอะมาก แต่ไม่ใช่จะเชื่อทุกข้อมูลที่อ่าน ต้องมีการวิเคราะห์ถึงแหล่งที่มาของข้อมูล วิเคราะห์คนเขียน วิเคราะห์ถึงช่วงเวลาที่คนเขียนนั้นเขียนขึ้นมาว่าเขามีอารมณ์ความรู้สึกอะไรในตอนนั้น และต้องอ่านข้อมูลที่ดูว่าจะมีความน่าเชื่อถือ ให้ได้มากที่สุด ในประเด็นต่างๆ เพื่อวิเคราะห์ว่า เหตุการณ์น่าจะเป็นอย่างไร สังเคราะห์ข้อคิดเห็นออกจากข้อเท็จจริง และนำมาวิพากษ์แลกเปลี่ยนความเห็นกับผู้อื่นอย่างเป็นกลาง เพื่อให้ตกผลึกทางความคิด เป็นสิ่งที่จะเป็นประโยชน์และใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด วิธีการทางประวัติศาสตร์นี้บ่มเพาะและฝึกกระบวนการทางความคิด ให้วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิพากษ์ก่อนที่จะตัดสินใจเชื่ออะไร ซึ่งเชอคิดว่าวิธีคิดแบบนี้ เป็นประโยชน์อย่างมาก โดยเฉพาะในสังคมปัจจุบันที่เกิดภาวะ flooding information หรือการท่วมท้นของข้อมูล มีทั้งข้อมูลลวงเพื่อผลประโยชน์ส่วนตน พรรคพวกตน หรือข้อมูลที่มาจากความเห็นส่วนบุคคล เราไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าข้อมูลไหนตรงกับความเป็นจริง นอกเสียจากสิ่งที่เราเจอหรือประสบกับตัวเอง อย่างข้อมูลในสื่ออนไลน์ บางทีนึกขำนะ สมมุติว่า วันนี้มีข้อมูลว่า นาย ก. เป็นคนเลวทำร้ายนาย ข. อย่างแสนสาหัส วันต่อมาก็มีข่าวว่า จริงๆแล้วข่าวเมื่อวานนั้นไม่จริง จริงๆคือ นาย ก. โดนนาย ข. ทำร้ายก่อน แต่นาย ข. สะดุดล้มหัวฟาดเองทำให้อาการหนัก และวันต่อมาก็มีข่าวว่า ข่าวของ2วันที่ผ่านมานั้นไมีจริง ที่จริงคือ นาย ก. และ นาย ข. เป็นเพื่อนรักกัน ดื่มสุราด้วยกันจนเมาแล้วชกตีกันเล่น เพื่อถ่ายคลิปหลอกนาย ค. ที่เป็นเพื่อนสนิทของทั้งคู่ !!!!! สรุปแล้วเรื่องจริงคืออะไร พอวันต่อๆไปข่าวเรื่องนี้ซา ก็ทิ้งไว้แค่ความสงสัย ว่าเรื่องนี้ความจริงคืออะไรกันแน่นะ ถ้าข่าวอะไรไม่ได้มีผลกับชีวิต หรือไม่เป็นประโยชน์ที่จะรู้ เชอก็ไม่สนใจเลยค่ะ เพราะยากเหลือที่จะหาข้อมูลจริงจากโลกอิสระเสรีทางการให้ข้อมูลจากความเห็นเป็นหลัก ถ้าย้อนเวลากลับไปได้ สิ่งหนึ่งที่เชอจะไม่เปลี่ยนแปลง คือการเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะอักษรศาสตร์ เอกประวัติศาสตร์ แม้ทุกวันนี้เนื้อหาวิชาของประวัติศาสตร์หลายๆอย่าง เชออาจลืม จำไม่ได้ แต่วิธีการทางประวัติศาสตร์ ที่บ่มเพาะความคิดของเชอ ยังคงอยู่ และได้ถูกนำมาใช้ในการดำเนินชีวิตเสมอ #ขอบคุณอาจารย์ทุกท่าน #ขอบคุณมหาวิทยาลัยแห่งความคิด;
Instagram is a registered trademark of Instagram, inc.